• อุตสาหกรรมผ้าผืนและด้ายของไทยมีอุตสาหกรรมปิโตรเคมีซึ่งเป็นอุตสาหกรรมต้นนำเกื้อหนุน ขณะเดียวกันก็มีอุตสาหกรรมปลายนำอย่างเสื้อผ้าสำเร็จรูปรองรับอยู่
• ความร่วมมือภายในอุตสาหกรรมผ้าผืนและด้ายค่อนข้างดี มีการพัฒนาเทคนิคการผลิตและถ่ายทอดองค์ความรู้ร่วมกันภายใต้กิจกรรมของสถาบันและสมาคมการค้าต่างๆ
• ผู้ประกอบการผ้าผืนและด้ายของไทยได้รับการยอมรับด้านคุณภาพจากคู่ค้าในต่างประเทศ
Weakness
• ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ละเลยการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของตนเองจึงยังต้องพึงพิงเทคโนโลยีจากต่างประเทศ
• ผู้ประกอบการผ้าผืนและด้ายของไทยได้รับการยอมรับด้านคุณภาพจากคู่ค้าในต่างประเทศ
Weakness
• ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ละเลยการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของตนเองจึงยังต้องพึงพิงเทคโนโลยีจากต่างประเทศ
• ขาดบุคลากรที่มีทักษะเฉพาะ อาทิ วิศวกร ช่างเทคนิค และนักออกแบบ
• อุตสาหกรรมผ้าผืนและด้ายยังคงต้องพึงพาการนำเข้าวัตถุดิบบางชนิดจากต่างประเทศ อาทิ ฝ้าย ซึ่งการเพาะปลูกในประเทศไม่เพียงพอต่อการใช้
• ผู้ผลิตบางรายของไทยยังเน้นแข่งขันด้านราคา ทำให้เสียเปรียบคู่แข่งอย่างจีน อินเดีย และเกาหลีใต้ซึ่งผลิตสินค้าปริมาณมาก เนื่องจากมีตลาดขนาดใหญ่ทั้งในประเทศและต่างประเทศรองรับ
Opportunity
Opportunity
• เศรษฐกิจโลกและประเทศคู่ค้าที่เริ่มฟื้นตัว ทำให้ยอดจำหน่ายเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลดีต่อเนื่องทำให้มีความต้องการนำเข้าผ้าผืนและด้ายเพื่อนำไปผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
• AFTA ส่งผลให้อัตราภาษีนำเข้าระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนเดิมลดลงเหลือร้อยละ 0 ซึ่งส่งผลดีต่อการส่งออกผ้าผืนและด้ายของไทย เนื่องจากประเทศในอาเซียนเป็นตลาดส่งออกสินค้ากลุ่มดังกล่าวสำคัญอันดับ 1 ของไทย
Threat
Threat
• วิกฤตหนี้ของกรีซที่อาจลุกลามไปยังประเทศอื่นๆ ใน EU อาจส่งผลกระทบทางอ้อมต่อการส่งออกด้ายและเส้นใยประดิษฐ์ของไทย
• ราคาวัตถุดิบฝ้ายปรับสูงขึ้นจนปัจจุบันมาอยู่ที ระดับ 80 เซนต์ต่อปอนด์ เพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 40จากราคาเฉลี่ย ปี 2552 ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตผ้าผืนสูงขึ้น
ที่มา..
http://www.exim.go.th/doc/newsCenter/10303.pdf
ที่มา..
http://www.exim.go.th/doc/newsCenter/10303.pdf
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น